กรอบแนวคิดมุ่งหมายการศึกษาของบลูม ในปีค.ศ. 1956 เบญจมิน บลูม และคณะ (Benjamin Bloom and other 1956)i ได้พัฒนา กรอบทฤษฎีที่ใชเป็นเครื่องมือการจดประเภทพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับการแสดงออกทางปัญญา และการคิดอนเป็นผลมาจากประสบการณ์การศึกษา เรียกว่า Bloom’s taxonomy ซ่ึงกาหนดไว ้3 ด้าน คือดานพุทธิพิสัย (cognitive domain) ดานจิตพิสัย (affective domain) และด้านทักษะทางกาย (psychomotor domain) ในการออกแบบหลกสูตรจดการเรียนรู้และการวัด ประเมินผลการเรียนรู้ก็ได้อาศัยกรอบทฤษฎีดังกล่าวน้ี ด้านพุทธิพิสัยถูกนำไปใช้มากที่สุด บลูมและคณะเสนอกรอบการ พัฒนาความคิดระดบต่ำ(lower order thinking skills) คือระดับ 1 – 3 ประกอบด้วย
ระดบั 1 : ความรู้
Level 1 : Knowledge (Recall and repeat information)
ระดับ 2 : ความเขาใจ ้
Level 2 : Comprehension (Interpret and demonstrate understanding)
ระดบั 3 : นาไปใช้ ( การประยกตุ ใช์ ความรู้ในสถานการณ์ใหม่)
Level 3 : Application (Apply acquired knowledge to a new problem)
ส่วนการพัฒนาความคิดระดับ สูง (higher order thinking skills) คือ ระดับ 4 – 6 ประกอบดว้ย
ระดับ 4 : การวิเคราะห์ ( ระบุความสมพั นธั ์และเหตุจูงใจ)
Level 4 : Analysis (Identify relationships and motives)
ระดับ 4 : การสงเคราะห ์ (การเชื่อมโยงขอเท้จจริงโดยเหตุผลหรือรูปแบบใหม่)
Level 5 : Synthesis (Assemble facts into a coherence or new pattern)
ระดับ 5 : การประเมิน (ใช้เกณ์ ้ และสถานการณ์เพื่อวินิจฉยและการตัดสินผล
Level 6 : Evaluation (Use criteria and evidence to make and defend judgments)
ต่อมาแอนเดอร์สัน และแครทโฮล (2001) ได้นําเสนอแนวคิดปรับปรุง Bloom’s Taxonomy ในการจำแนกพฤติกรรมย่อย มีการปรับปรุงให้เหมาะสมกับบริบทใหม่ ๆ รายละเอียด
ดังตาราง 1 ตาราง 1 เปรียบเทียบ Bloom’s Taxonomy 1956 และ2001
New Version
(Bloom’s Taxonomy 2001)
|
Old Version
(Bloom’s Taxonomy 1956) Creating
|
Creating
|
Evaluation
|
Evaluating
|
Synthesis
|
Analysing
|
Analysis
|
Applying
|
Application
|
Understanding
|
Comprehension
|
Remembering
|
Knowledge
|
สรุปการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้ว่า มีการเปลี่ยนแปลงในระดับคำศัพท์ และระดับโครงสร้างการเปลี่ยนแปลงในระดบคำศัพท์เป็นดังนี้ จุดประสงค์การศึกษาของหลกสูตรที่อิงมาตรฐาน(standards – based curriculum) จะระบุในลักษณะว่าผู้เรู้ียนควรรู้และทำอะไรได้ (เป็นกริยา) ในสิ่งใด(เป็นคานาม ) แต่ในปี1956 บลูม (Bloom)ใชคำนามในการอธิบายความรู้ประเภทต่าง ๆ ต่อมาในฉบบปรับปรุง ปี2001 พฤติกรรม ยอยจึงระบุเป็นกริยาและมีการปรับเปลี่ยนคำว่าความรู้ (knowledge) เป็นความจาํ(remember) ในฉบับปรับปรุงได้จัดความรู้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ขอเท็จจริง (factual) มโนทัศน์ (concept) กระบวนการ(procedural) และความรู้ที่เกิดจากตนเอง (metacognition) ขั้นพฤติกรรมหลักในกรอบเดิม 2 ขั้น คือความเข้าใจ ้ (comprehension) เปลี่ยนเป็น เข้าใจความหมาย (understand) และการประเมิน (evaluation) เป็น สร้างสรรค (create)
เนื้อหาเพิ่มเติมคลิกที่นี่
รายการอ้างอิง
Anderson, L.W., Krathwohl, D. R., Airasian, P. W., Cruikshank, K. A., Mayer, R. E., Pintrich, P. R., Raths, J., and Wittrock, M. C. (Eds.) (2001). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing. [Abridged Edition.] New York : Longman. Bloom, B.J. (Ed.), Engelhart, M.D., Furst, E.J., Hill, W.H. and Krathwohl, D.R. (1956). Taxonomy of Educational Objectives : Handbook I : Cognitive Domain. New York : David McKay. Foreland, M. (2012). Bloom’s Taxonomy. [Online]. Available : http://projects.coe.uga.ed/epltt/index.php?title =Bloom%27sTaxonomy(10.2.2012) Retrieved 13 August 2013. Krathwohl, D. R. (2002). “A Revision of Bloom’s Taxonomy : An Overview.” Theory into Practice. 41 No. 4. 212 – 218. [Online] Available : http://www.unco.edu/cetl/sir/stating_outcome/ documents/Krathwohl.pdf. Mayer, R.E. (2002). “Rote Versus Meaningful Learning.” Theory into Practice. 41 No. 4. 226 – 232. [Online] Available : http://www.unco.edu/cetl/sir/stating_outcome/documents/Krathwohl.pdf. Pintrich, P.l. (2002). “The Role of Metacognition Knowledge in Learning, Teaching and Assessing.” Theory into Practice. 41 No.4 219–225. [Online] Available : http://www.unco.edu/cet1//sir/stating_ outcome/documents/Krathwohl.pdf.