การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
คำอธิบายรายวิชา
หลักการวัดและประเมินผลความหมาย หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา บทบาทของการประเมินผลทางการศึกษาจุดมุ่งหมายทางการศึกษากับการประเมินผลการประเมินจากแฟ้มผลงานการประเมินจากแฟ้มสะสมงานการประเมินภาคปฏิบัติการประเมินผลแบบย่อยแบบรวมเทคนิคและวิธีการที่ใช้ในการวัดพฤติกรรม ด้านพุทธพิสัย จิตพิสัย ด้านพุทธพิสัยลักษณะของเครื่องจักรในการสร้างเครื่องมือวัดแบบต่างๆให้มีคุณภาพสถิติเบื้องต้นในการวัดประเมินผลทางการศึกษาการวิเคราะห์ข้อมูลที่สายตามหลักสูตรต่างๆที่เกี่ยวข้องเช่นหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2544 การประเมินตามสภาพจริง
จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลทางการศึกษามีจุดม่งหมาย เพื่อรวบรวมรายละเอียดต่างๆ เพื่อแสดง
ความก้าวหน้าตามเป้าหมายของหลักสูตรและเพื่อจุดประสงค์อื่น ๆ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษา
จุดมุ่งหมายของการวัดผลแยกเป็นข้อ ๆ ได้ดังนี้ (ภัทรา นิคมานนท์ 2543 : 20)
1. เพื่อการจัดตำแหน่ง (Placement) โดยใช้ผลการสอบบอกตำแหน่งของผู้เรียนว่ามีความรู้
ความสามารถอยู่ในระดับใดของกลุ่ม หรือเปรียบเทียบกับเกณฑ์แล้วอยู่ในระดับใด การใช้แบบสอบเพื่อ
จัดตำแหน่งนี้ ใช้ในวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ
ความสามารถอยู่ในระดับใดของกลุ่ม หรือเปรียบเทียบกับเกณฑ์แล้วอยู่ในระดับใด การใช้แบบสอบเพื่อ
จัดตำแหน่งนี้ ใช้ในวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ
1.1 ใช้สำหรับคัดเลือก (Selection) เป็นการใช้ผลการสอบในการตัดสินใจ ในการ
คัดเลือกเพื่อเข้าเรียนต่อ การเข้าทำงาน การให้ทุน ผลการสอบนี้ส่วนใหญ่จะคำนึงถึงอันดับที่สำคัญ
คัดเลือกเพื่อเข้าเรียนต่อ การเข้าทำงาน การให้ทุน ผลการสอบนี้ส่วนใหญ่จะคำนึงถึงอันดับที่สำคัญ
1.2 ใช้สำหรับแยกประเภท (Classification) เป็นการใช้ผลการสอบในการจำแนก
บุคคลเป็นกลุ่ม เป็นพวก เช่น ใช้ในการตัดสินได้ตก แบ่งพวกเก่งอ่อนด้านใดด้านหนึ่ง พวกที่ผ่าน
เกณฑ์และยังไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้
บุคคลเป็นกลุ่ม เป็นพวก เช่น ใช้ในการตัดสินได้ตก แบ่งพวกเก่งอ่อนด้านใดด้านหนึ่ง พวกที่ผ่าน
เกณฑ์และยังไม่ผ่านเกณฑ์เหล่านี้
2. เพื่อการเปรียบเทียบ ( Assessment ) เป็นการประเมินก่อนเริ่มต้นการเรียนการสอน (Pre-test) ของแต่ละบทเรียนหรือแต่ละหน่วย เพื่อพิจารณาดูว่าผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็นสำหรับการ
เรียนเพียงใด ซึ่งจะช่วยให้รู้ว่าในระหว่างการเรียนรู้ ผู้เรียนควรมีความรู้เพิ่มอย่างไร และเป็นการ
พิจารณาดูว่าในการสอนอย่างไรจึงจะเหมาะสมกับสภาพผู้เรียน อนึ่งหากว่าผลการประเมินผลก่อนเรียน
พบว่า ผู้เรียนมีพื้นฐานไม่พอเพียงที่จะเรียนในเรื่องที่จะสอน ก็จำเป็นต้องได้รับการสอนซ่อมเสริมให้
มีพื้นฐานที่พอเพียงเสียก่อนจึงจะเริ่มต้นสอนเนื้อหาในหน่วยการเรียนต่อไปได้
เรียนเพียงใด ซึ่งจะช่วยให้รู้ว่าในระหว่างการเรียนรู้ ผู้เรียนควรมีความรู้เพิ่มอย่างไร และเป็นการ
พิจารณาดูว่าในการสอนอย่างไรจึงจะเหมาะสมกับสภาพผู้เรียน อนึ่งหากว่าผลการประเมินผลก่อนเรียน
พบว่า ผู้เรียนมีพื้นฐานไม่พอเพียงที่จะเรียนในเรื่องที่จะสอน ก็จำเป็นต้องได้รับการสอนซ่อมเสริมให้
มีพื้นฐานที่พอเพียงเสียก่อนจึงจะเริ่มต้นสอนเนื้อหาในหน่วยการเรียนต่อไปได้
3. เพื่อการวินิจฉัย ( Diagnosis )เป็นการใช้ผลการสอบเพื่อค้นหาจุดเด่น จุดด้อยของผู้เรียน
ว่ามีปัญหาในเรื่องอะไร เพื่อจะนำไปสู่การตัดสินใจแก้ไขปรับปรุงให้ตรงเป้า แบบทดสอบที่ใช้เพื่อการนี้ คือแบบสอบวินิจฉัยการเรียน ( Diagnostic Test ) การนำผลการสอบไปใช้ในการวินิจฉัยการเรียนนี้
มักใช้ในวัตถุประสงค์ 2 ประการดังนี้คือ
ว่ามีปัญหาในเรื่องอะไร เพื่อจะนำไปสู่การตัดสินใจแก้ไขปรับปรุงให้ตรงเป้า แบบทดสอบที่ใช้เพื่อการนี้ คือแบบสอบวินิจฉัยการเรียน ( Diagnostic Test ) การนำผลการสอบไปใช้ในการวินิจฉัยการเรียนนี้
มักใช้ในวัตถุประสงค์ 2 ประการดังนี้คือ
3.1 เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนหรือประเมินผลย่อย โดยการประเมินผลนี้ใช้ระหว่าง
มีการเรียนการสอน เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ หากว่าผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้สอนก็จะหาวิธีการที่จะช่วยให้ผู้เรียนนั้นมีความรู้ตามเกณฑ์ที่
ตั้งไว้ นอกจากนี้ยังใช้ผลการประเมินเพื่อตรวจสอบตัวผู้สอน เช่น ผลจากการสอนเนื้อหาเรื่องหนึ่ง ปรากฏว่าผู้เรียนส่วนใหญ่ในกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ไม่ผ่าน จุดประสงค์ที่ตั้งไว้
ผู้สอนก็อาจจะตรวจสอบว่าการสอนของตนเองเป็นอย่างไร การอธิบายชัดเจนหรือไม
่ เมื่อผู้สอนตรวจสอบดูแล้วหากพบข้อบกพร่องจุดใดก็แก้ไขตรงตามนั้น
มีการเรียนการสอน เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ ตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่ หากว่าผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ ผู้สอนก็จะหาวิธีการที่จะช่วยให้ผู้เรียนนั้นมีความรู้ตามเกณฑ์ที่
ตั้งไว้ นอกจากนี้ยังใช้ผลการประเมินเพื่อตรวจสอบตัวผู้สอน เช่น ผลจากการสอนเนื้อหาเรื่องหนึ่ง ปรากฏว่าผู้เรียนส่วนใหญ่ในกลุ่มมีผลสัมฤทธิ์ไม่ผ่าน จุดประสงค์ที่ตั้งไว้
ผู้สอนก็อาจจะตรวจสอบว่าการสอนของตนเองเป็นอย่างไร การอธิบายชัดเจนหรือไม
่ เมื่อผู้สอนตรวจสอบดูแล้วหากพบข้อบกพร่องจุดใดก็แก้ไขตรงตามนั้น
การประเมินผลระหว่างเรียนเป็นกิจกรรมที่สอดแทรกไปกับการเรียนการสอนตลอดเวลา โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาว่าผู้เรียนบรรลุจุดประสงค์การเรียนที่กำหนดไว้หรือเพียงใด หากพบว่ามีข้อ บกพร่องในจุดประสงค์ใด ก็จะได้ใช้ข้อมูลนั้นๆ เป็นแนวในการปรับปรุง การเรียนของผู้เรียนเป็นราย บุคคลหรือรายกลุ่ม และเป็นการพัฒนาวิธีการสอนของครูต่อไป นอกจากผลการประเมินยังช่วยปรับปรุงการเรียนการสอนแล้ว หากว่าเนื้อหาบางตอนที่ผู้สอน ได้พยายามปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างเต็มที่กับผู้เรียนหลายกลุ่มแล้ว ผลก็ยังเป็นอย่างเดิม คือ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ไม่ผ่านจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ แม้ผู้สอนจะได้พยายามปรับปรุงข้อบกพร่องตามประเด็น แล้วก็ตาม แสดงว่าจุดประสงค์ที่ตั้งไว้อาจจะสูงเกินไปไม่เหมาะกับผู้เรียนหรือเนื้อหา อาจจะยากหรือ ซับซ้อนเกินไป ที่จะบรรจุในหลักสูตรระดับนี้ ผลจากการประเมินผลจะเป็นประโยชน์สามารถใช้เป็น ข้อมูลในการปรับปรุงหลักสูตรได้
| |||||
สัปดาห์ที่ 1
วัน / เดือน / ปี
|
สาระ
|
ภาระงาน
|
17
ก.ค 60
|
||
|
||
สัปดาห์ที่ 2
วัน / เดือน / ปี
|
สาระ
|
ภาระงาน
|
24 ก.ค 60
|
ความหมายของคำว่า การทดสอบ การวัด และการประเมิน
|
Power point
คลิก |
เครื่องมือหรือเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
|
||
สัปดาห์ที่ 3
วัน / เดือน / ปี
|
สาระ
|
ภาระงาน
|
31 ก.ค 60
|
การวัดและประเมินผล
|
|
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
|
||
|
Power point
คลิก |
สัปดาห์ที่ 4
วัน / เดือน / ปี
|
สาระ
|
ภาระงาน
|
7 ส.ค 60
|
Power point
คลิก |
|
รูปแบบของข้อสอบแบบเลือกตอบ
|
Power point
|
|
สัปดาห์ที่ 5
วัน / เดือน / ปี
|
สาระ
|
ภาระงาน
|
21 ส.ค 60
|
ลักษณะของเทคนิค
เครื่องมือที่ดี
คลิก |
|
การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดผล
|
Power point
คลิก |
|
|
สัปดาห์ที่ 6
วัน / เดือน / ปี
|
สาระ
|
ภาระงาน
|
28 ส.ค 60
|
Power point
|
|
|
Power point
คลิก |
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น